
รองศาสตราจารย์สมชาย ปรีชาศิลปกุล
หัวหน้าศูนย์วิจัยและพัฒนากฎหมาย
[CV]
หัวหน้าศูนย์วิจัยและพัฒนากฎหมาย
[CV]
กระบวนวิชาที่รับผิดชอบ
- กฎหมายกับสังคม
- นิติปรัชญา
- กฎหมายว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
- กฎหมายกับสังคม
- นิติปรัชญา
- กฎหมายว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
หมายเลขโทรศัพท์ : 053-942909 - 10 ต่อ 102
E-Mail : -
ผลงานทางวิชาการ :
งานวิจัย
1) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2546 โครงการทบทวนองค์ความรู้ระบบความชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากมลพิษด้านสิ่งแวดล้อม. สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ
2) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2547 บทสำรวจ พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535: สภาพปัญหาและแนวทางแก้ไข. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์.
3) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2551 เพศวิถีในคำพิพากษา. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยระพีพัฒนศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ CIDA และโครงการ UNIFEM CEDAW SEAP ประเทศไทย
4) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2551 การติดตามและประเมินผลโครงการจัดตั้งคณะอนุกรรมการประสานงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัด (ภาคเหนือ) โครงการนำร่องจังหวัดลำพูนและสุโขทัย. 2551. สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการ ป.ป.ช.
5) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2556 บุคคลเพศหลากหลายในระบบกฎหมาย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อสิทธิและความเป็นธรรมทางเพศ
6) Somchai Preechasinlapakun. 2013 (2556) Dynamics and Institutionalization of Coups in the Thai Constitution. Japan: Institute of Developing Economies.
7) สมชาย ปรีชาศิลปกุล และคณะ. 2557 การศึกษาพัฒนาการการรับรองและคุ้มครองสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 งานวิจัยโดยการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
8) สมชาย ปรีชาศิลปกุล และคณะ. 2557 เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธตามบทบัญญัติของกฎหมาย. งานวิจัยโดยการสนับสนุนของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
9) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2558 ข้อถกเถียงว่าด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ในองค์กรจัดทำรัฐธรรมนูญของไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 – 2550 งานวิจัยสนับสนุนโดยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
10) นิฐิณี ทองแท้ และสมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2559 กรรมาธิการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญชื่อ “ป๋วย” ใน ประจักษ์ ก้องกีรติ และปกป้อง จันวิทย์ บรรณาธิการ ป๋วยกับสังคมไทยในวิกฤตเปลี่ยนผ่าน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ตำราและหนังสือ
1) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2543 สิทธิการดื้อแพ่งต่อกฎหมาย. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาการเมือง
2) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2546 ความยอกย้อนในประวัติศาสตร์ของบิดาแห่งกฎหมายไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน
3) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2546 นิติปรัชญาทางเลือก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน
4) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2548 นิติศาสตร์นอกคอก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน
5) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2548 นิติศาสตร์ชายขอบ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน
6) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2549 นิติศาสตร์ไทยเชิงวิพากษ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิญญูชน
7) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2550 อภิรัฐธรรมนูญไทย ปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ ประจำปี 2550 วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน 2550 ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์
8) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2552 ระบบกฎหมายไทยและสภาวะแม่เลี้ยงเดี่ยว ใน โสภิดา วีรกุลเทวัญ บรรณาธิการ. เป็นพ่อแม่หลังชีวิตคู่แยกทาง: มุมมองด้านกฎหมาย, มิติหญิงชายและวาทกรรม. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์
9) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2558 การวิจัยกฎหมายทางเลือก: แนวคิดและพรมแดนความรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน
งานวิจัย
1) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2546 โครงการทบทวนองค์ความรู้ระบบความชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากมลพิษด้านสิ่งแวดล้อม. สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ
2) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2547 บทสำรวจ พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535: สภาพปัญหาและแนวทางแก้ไข. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์.
3) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2551 เพศวิถีในคำพิพากษา. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยระพีพัฒนศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ CIDA และโครงการ UNIFEM CEDAW SEAP ประเทศไทย
4) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2551 การติดตามและประเมินผลโครงการจัดตั้งคณะอนุกรรมการประสานงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัด (ภาคเหนือ) โครงการนำร่องจังหวัดลำพูนและสุโขทัย. 2551. สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการ ป.ป.ช.
5) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2556 บุคคลเพศหลากหลายในระบบกฎหมาย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อสิทธิและความเป็นธรรมทางเพศ
6) Somchai Preechasinlapakun. 2013 (2556) Dynamics and Institutionalization of Coups in the Thai Constitution. Japan: Institute of Developing Economies.
7) สมชาย ปรีชาศิลปกุล และคณะ. 2557 การศึกษาพัฒนาการการรับรองและคุ้มครองสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 งานวิจัยโดยการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
8) สมชาย ปรีชาศิลปกุล และคณะ. 2557 เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธตามบทบัญญัติของกฎหมาย. งานวิจัยโดยการสนับสนุนของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
9) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2558 ข้อถกเถียงว่าด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ในองค์กรจัดทำรัฐธรรมนูญของไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 – 2550 งานวิจัยสนับสนุนโดยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
10) นิฐิณี ทองแท้ และสมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2559 กรรมาธิการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญชื่อ “ป๋วย” ใน ประจักษ์ ก้องกีรติ และปกป้อง จันวิทย์ บรรณาธิการ ป๋วยกับสังคมไทยในวิกฤตเปลี่ยนผ่าน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ตำราและหนังสือ
1) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2543 สิทธิการดื้อแพ่งต่อกฎหมาย. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาการเมือง
2) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2546 ความยอกย้อนในประวัติศาสตร์ของบิดาแห่งกฎหมายไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน
3) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2546 นิติปรัชญาทางเลือก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน
4) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2548 นิติศาสตร์นอกคอก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน
5) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2548 นิติศาสตร์ชายขอบ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน
6) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2549 นิติศาสตร์ไทยเชิงวิพากษ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิญญูชน
7) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2550 อภิรัฐธรรมนูญไทย ปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ ประจำปี 2550 วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน 2550 ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์
8) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2552 ระบบกฎหมายไทยและสภาวะแม่เลี้ยงเดี่ยว ใน โสภิดา วีรกุลเทวัญ บรรณาธิการ. เป็นพ่อแม่หลังชีวิตคู่แยกทาง: มุมมองด้านกฎหมาย, มิติหญิงชายและวาทกรรม. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์
9) สมชาย ปรีชาศิลปกุล. 2558 การวิจัยกฎหมายทางเลือก: แนวคิดและพรมแดนความรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน
ความสนใจทางวิชาการ :
- กฎหมายกับสังคม
- ปรัชญากฎหมาย
- กฎหมายกับสังคม
- ปรัชญากฎหมาย
เกียรติคุณ รางวัลที่ได้รับ :
ทุนและการดูงาน
- Asian Public Intellectuals Fellowships: API (2000 – 2001)
- International Visitor Leadership Program of the United States Department of State (2008)
- Visiting Research Fellow (VRF) at Institute of Developing Economies (IDE) Japan (2012-2013)
ทุนและการดูงาน
- Asian Public Intellectuals Fellowships: API (2000 – 2001)
- International Visitor Leadership Program of the United States Department of State (2008)
- Visiting Research Fellow (VRF) at Institute of Developing Economies (IDE) Japan (2012-2013)
ประวัติการทำงาน :
1. เป็นผู้สอนในกระบวนวิชานิติปรัชญา , กฎหมายว่าด้วยสิทธิมนุษยชน , กฎหมายกับสังคม
2. กรรมการโครงการให้คำปรึกษาทางกฎหมายแก่ประชาชน ของสาขานิติศาสตร์
3. กรรมการแก้ไขปัญหาที่ดินที่จังหวัดลำพูน
4. คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาเกษตรกรภาคเหนือ
1. เป็นผู้สอนในกระบวนวิชานิติปรัชญา , กฎหมายว่าด้วยสิทธิมนุษยชน , กฎหมายกับสังคม
2. กรรมการโครงการให้คำปรึกษาทางกฎหมายแก่ประชาชน ของสาขานิติศาสตร์
3. กรรมการแก้ไขปัญหาที่ดินที่จังหวัดลำพูน
4. คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาเกษตรกรภาคเหนือ
ประวัติการศึกษา :
- พ.ศ. 2533: นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- พ.ศ. 2538: นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Certificate of Training on Environmental Law, Institute of International Legal Studies-University of the Philippines Law Center 2005
- พ.ศ. 2533: นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- พ.ศ. 2538: นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Certificate of Training on Environmental Law, Institute of International Legal Studies-University of the Philippines Law Center 2005